Background



ข้อมูลพื้นฐาน
สภาพทั่วไป
30 พฤศจิกายน 544

2257


สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

1.1  ด้านกายภาพ

          ที่ตั้งและขนาด

          องค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด เป็นองค์การบริหารส่วนตำบล 1 ใน 5 องค์การบริหารส่วนตำบลของอำเภอสิเกา ได้รับการยกฐานะจากสภาตำบลเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยและมีผลบังคับใช้เมื่อปี พ.ศ. 2540  และที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด ตั้งอยู่เลขที่ 201 หมู่ที่ 4  ตำบลไม้ฝาด  อำเภอสิเกา  จังหวัดตรัง

    องค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอสิเกา ประมาณ 10 กิโลเมตร  และห่างจากศาลากลางจังหวัดตรัง  ประมาณ  40  กิโลเมตร

เนื้อที่

องค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด มีเนื้อที่ทั้งหมด  152  ตารางกิโลเมตร  หรือ  95,000 ไร่ 

แยกเป็น แต่ละหมู่บ้านได้ดังนี้

             หมู่ที่ 1   บ้านห้วยต่อ                                                  จำนวน     13,921    ไร่        

             หมู่ที่ 2   บ้านห้วยต่อน้อย                                                       จำนวน     11,644   ไร่                           หมู่ที่ 3   บ้านไม้ฝาด                                                   จำนวน     15,241    ไร่

             หมู่ที่ 4   บ้านปากเมง                                                 จำนวน     16,056    ไร่    หมู่ที่ 5   บ้านฉางหลาง                                                    จำนวน     14,234    ไร่    หมู่ที่ 6   บ้านผมเด็น                                                               จำนวน      14,021   ไร่

             หมู่ที่ 7   บ้านนาหละ                                                             จำนวน        9,883   ไร่

            อาณาเขต

องค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด  มีอาณาเขตติดต่อกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.)  ต่างๆ ดังนี้

                  ทิศเหนือ          ติดต่อกับ  องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน  อำเภอสิเกา

                  ทิศใต้             ติดต่อกับ  องค์การบริหารส่วนตำบลบางสัก   อำเภอกันตัง

                     ทิศตะวันออก       ติดต่อกับ  เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา

                  ทิศตะวันตก       ติดต่อกับ  ทะเลอันดามัน

ลักษณะภูมิประเทศ

ลักษณะภูมิประเทศขององค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาดโดยทั่วไป มีหลายลักษณะทั้งที่ราบลุ่มและที่ราบลุ่มค่อนข้างสูงเป็นลุกคลื่นและมีพื้นที่บางส่วนติดต่อกับชายทะเล

พื้นที่ราบประมาณร้อยละ 65 ของพื้นที่ตำบล ส่วนที่ราบลุ่มประมาณร้อยละ 20 ของพื้นที่ตำบล และที่ราบค่อนข้างสูงเป็นลูกคลื่นและติดต่อกับทะเล พื้นที่ประมาณร้อยละ 15 ของพื้นที่ตำบล

ลักษณะภูมิอากาศ   ลักษณะภูมิอากาศ  เป็นแบบมรสุมฤดูร้อน  มี  2  ฤดู
            -  ฤดูร้อน    เริ่มตั้งแต่เดือน     มกราคม     ถึงเดือน   เมษายน

 -  ฤดูฝน      เริ่มตั้งแต่เดือน   พฤษภาคม   ถึงเดือน   ธันวาคม  

1.2  ด้านการเมือง/การปกครอง

เขตการปกครอง

องค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด  มีจำนวนหมู่บ้านที่อยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลเต็มทั้งหมู่บ้าน จำนวน  7 หมู่บ้าน  ดังนี้

 

หมู่ที่

ชื่อหมู่บ้าน

ชื่อผู้นำหมู่บ้าน/ชุมชน

หมายเหตุ

1

บ้านห้วยต่อ

นายสมศักดิ์  แก้วกูล

ผู้ใหญ่บ้าน

2

บ้านห้วยต่อน้อย

นายรงค์ศักดิ์  ช่วยชะนะ

ผู้ใหญ่บ้าน

3

บ้านไม้ฝาด

นายสุทธีรักษ์  รอดรัตน์

ผู้ใหญ่บ้าน

4

บ้านปากเมง

นายวินัย   ชูเสียงแจ้ว

กำนัน

5

บ้านฉางหลาง

นายสมบูรณ์   กิ่งเกาะยาว     

ผู้ใหญ่บ้าน

6

บ้านผมเด็น

นายสุวิน  บุษบน

ผู้ใหญ่บ้าน

7

บ้านนาหละ

นายสมบูรณ์  รัตนตรัง

ผู้ใหญ่บ้าน

1.  หมู่บ้านที่อยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด    มีทั้งหมด  7  หมู่บ้าน

  • หมู่บ้านที่อยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด เต็มหมู่บ้าน  จำนวน 7  หมู่ คือ 1,2,3,4,5,6,7

2. จำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด  มีจำนวน 7 คน  ชาย 7 คน

 

ลำดับที่

ชื่อ -  สกุล

ตำแหน่ง

1

นายอยุธยา  ช่วยธานี

สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด  หมู่ที่ 1

2

นายดิถี  ตั้งเคี้ยน

สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด  หมู่ที่ 2

3

นายสมคิด  ผักจีน

สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด  หมู่ที่ 3

4

นายสิริชัย  สุจิตตวัฒนะ

สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด  หมู่ที่ 4

5

นายสมศักดิ์  เขียดเขียว

สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด  หมู่ที่ 5

6

นายพินิจ  ทองย้อย

สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด  หมู่ที่ 6

7

นายหมาดเฉ็น  รัตนตรัง

สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด  หมู่ที่ 7

 

3.  ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด                     คือ  นายสิริชัย  สุจิตตวัฒนะ

      รองประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด              คือ  นายอยุธยา  ช่วยธานี

      เลขานุการสภาองค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด                คือ  นายดิถี  ตั้งเคี้ยน

 

 

 

 

4.  นายกองค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด                                 คือ  นายสมนึก  เปลี่ยนเภท

      รองนายก  อบต. คนที่  1                                            คือ  นายสมชาย  กิ่งเกาะยาว

      รองนายก  อบต. คนที่  2                                            คือ  นายประจบ  อั้นทอง

      เลขานุการนายก  อบต.                                              คือ  นายดูล  ช่วยธานี

  5. ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด                                 คือ  นางสาววรรณี  ตูลเพ็ง

1.3  ประชากร

องค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด มีประชากรทั้งสิ้น จำนวน  9,435 คน  โดยแยกเป็น ชายจำนวน  4,783  คน      แยกเป็นหญิง  จำนวน  4,652   คน  โดยแยกเป็นหมู่บ้านต่างๆ  ดังนี้

 

หมู่ที่

ชื่อหมู่บ้าน

จำนวนประชากร

รวม

จำนวนครัวเรือน

ชาย

หญิง

1

บ้านห้วยต่อ

562

543

1,105

388

2

บ้านห้วยต่อน้อย

542

540

1,082

316

3

บ้านไม้ฝาด

819

819

1,638

1,251

4

บ้านปากเมง

1,078

1,050

2,128

1,132

5

บ้านฉางหลาง

1,000

931

1,931

538

6

บ้านผมเด็น

432

432

864

302

7

บ้านนาหละ

350

337

687

223

 

รวม

4,783

4,652

9,435

4,150

หมายเหตุ   ข้อมูลประชากรจากอำเภอสิเกา  ณ  เดือนธันวาคม  พ.ศ.  2565

 

สภาพสังคม
30 พฤศจิกายน 544

2493


1.4 สภาพทางสังคม

            การศึกษา

          องค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด  มีสถานศึกษา/แหล่งที่ให้ความรู้กับเด็กนักเรียน จำนวน  6 แห่ง  ดังนี้

          1. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย(วิทยาเขตตรัง) ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 เปิดสอนระดับชั้นปริญญาตรี   

          2. โรงเรียนบ้านห้วยต่อ                      ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1  เปิดสอนระดับชั้นประถมศึกษา (ป.1-ป.6)

          3. โรงเรียนวัดไม้ฝาด                        ตั้งอยู่ หมู่ที่ เปิดสอนระดับชั้นประถมศึกษา (ป.1-ป.6)

          4. โรงเรียนหาดปากเมง                     ตั้งอยู่ หมู่ที่ 4  เปิดสอนระดับชั้นประถมศึกษา (ป.1-ม.3)

          5. โรงเรียนบ้านฉางหลาง                  ตั้งอยู่ หมู่ที่ 5  เปิดสอนระดับชั้นประถมศึกษา (ป.1-ป.6)

          6. โรงเรียนบ้านผมเด็น                      ตั้งอยู่ หมู่ที่ 6  เปิดสอนระดับชั้นประถมศึกษา (ป.1-ป.6)

 

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  จำนวน  4  ศูนย์  ได้แก่

  1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านห้วยต่อ                 หมู่ที่  1
  2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปากเมง                 หมู่ที่  4
  3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านฉางหลาง               หมู่ที่  5
  4. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาหละ        หมู่ที่   7

           

 สาธารณสุข

องค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด  มีหน่วยพยาบาลที่ให้บริการประชาชนในเรื่องของการรักษาพยาบาล  จำนวน  2  แห่ง  ดังนี้

  • โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไม้ฝาด  ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 
  • โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฉางหลาง ตั้งอยู่หมู่ที่ 5  

ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

   -  ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน  1 แห่ง 

   -  ที่ทำการสายตรวจประจำตำบลไม้ฝาด   1 แห่ง 

 

สภาพทางเศรษฐกิจ
30 พฤศจิกายน 544

823


1.6 ระบบเศรษฐกิจ

         

          ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด ประกอบอาชีพหลายอาชีพ เช่น รับราชการ     รับจ้างทั่วไป ค้าขาย  และทำการเกษตร  โดยเฉพาะการทำสวนยางพารา  เป็นอาชีพหลัก

   -  ทำสวนยางพารา , ปาล์มน้ำมัน      ประมาณ         80  เปอร์เซ็นต์

   -  เลี้ยงสัตว์ (วัว เป็ด ไก่)               ประมาณ            2   เปอร์เซ็นต์

   -  รับจ้างกรีดยาง                        ประมาณ           2   เปอร์เซ็นต์

   -   การเกษตรกรรม อื่นๆ                ประมาณ           10  เปอร์เซ็นต์

   -    รับราชการ                           ประมาณ           1    เปอร์เซ็นต์

   -    ประมง                                ประมาณ           1    เปอร์เซ็นต์

  -    งานบริการ,รับจ้าง และอื่นๆ                   ประมาณ           4    เปอร์เซ็นต์

หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล

         - ปั๊มน้ำมัน และก๊าช                     5        แห่ง

         - โรงแรม                                            1        แห่ง

 

 

 

 

 

สถาบันและองค์กรทางศาสนา

             - มัสยิด จำนวน  4  แห่ง  ประกอบด้วย

                1. มัสยิดบ้านฉางหลาง                     ตั้งอยู่หมู่ที่  5

                2. มัสยิดมูฮายีรีน (บ้านนาแห้ง)                   ตั้งอยู่หมู่ที่  5

                3. มัสยิดดารุณยันนะ                      ตั้งอยู่หมู่ที่  5        

                 4. มัสยิดบ้านนาหละ                      ตั้งอยู่หมู่ที่  7  

            - วัด จำนวน  2  แห่ง   คือ วัดไม้ฝาด   ตั้งอยู่หมู่ที่ 3

          วัดห้วยต่อ  ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

                   

    1.7  เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ)

   

(1)  หมู่ที่ 1 บ้านห้วยต่อ

       

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิต

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(ครัวเรือน/ไร่)

(กก./ไร่)

(บาท/ไร่)

(บาท/ไร่)

1) ทำนา

 

-

-

-

-

 

 

2) ทำสวน

    สวนปาล์มน้ำมัน

22

3,000

2,000

12,000

     สวนยางพารา

198

250

146

8,250

3) ทำไร่

     ไร่อ้อย

 

-

-

-

-

 

 

     ไร่ข้าวโพด

-

-

-

 

 

     ไร่มันสัมปะหลัง

-

-

-

-

4) อื่นๆ

     อื่นๆ โปรดระบุ

 -

 -

 -

 

 

           

ประเภทแหล่งน้ำทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝน

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

1) ห้วย / ลำธาร

 

/

 -

/

2) หนองน้ำ / บึง

 

/

 -

/

3) อ่างเก็บน้ำ

 

 -

 -

4) ฝาย

 

 

 -

/

/

5) สระ

 

 

 -

/

/

6) คลองชลประทาน

 

 -

/

/

7) ประปาหมู่บ้าน

 

 -

8) ประปาส่วนภูมิภาค

 

 -

 -

 -

                 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

       
   

(2)  หมู่ที่ 2 บ้านห้วยต่อน้อย

       

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิต

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(ครัวเรือน/ไร่)

(กก./ไร่)

(บาท/ไร่)

(บาท/ไร่)

1) ทำนา

 

-

-

-

-

 

 

2) ทำสวน

    สวนปาล์มน้ำมัน

22

3,000

1,500

12,000

     สวนยางพารา

220

300

400

9,600

3) ทำไร่

     ไร่อ้อย

 

       

 

 

     ไร่ข้าวโพด

 

     

 

 

     ไร่มันสัมปะหลัง

       

4) อื่นๆ

     อื่นๆ โปรดระบุ

 

 

 

 

 

 

           

ประเภทแหล่งน้ำทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝน

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

1) ห้วย / ลำธาร

 

 

/

 

/

2) หนองน้ำ / บึง

 

 

/

 

/

3) อ่างเก็บน้ำ

 

 -

 -

4) ฝาย

 

 

 /

-

 /

-

5) สระ

 

 

 

/

 

/

6) คลองชลประทาน

 

 

/

 

/

7) ประปาหมู่บ้าน

 

8) ประปาส่วนภูมิภาค

 

 -

 -

 -

                 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

           
   

(3)  หมู่ที่ 3 บ้านไม้ฝาด

       

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิต

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(ครัวเรือน/ไร่)

(กก./ไร่)

(บาท/ไร่)

(บาท/ไร่)

1) ทำนา

 

-

-

-

-

 

 

2) ทำสวน

    สวนปาล์มน้ำมัน

28

3,000

2,000

12,000

     สวนยางพารา

300

250

146

12,500

3) ทำไร่

     ไร่อ้อย

 

       

 

 

     ไร่ข้าวโพด

 

     

 

 

     ไร่มันสัมปะหลัง

       

4) อื่นๆ

     อื่นๆ โปรดระบุ

 

 

 

 

 

 

           

ประเภทแหล่งน้ำทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝน

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

1) ห้วย / ลำธาร

 

 

/

 

/

2) หนองน้ำ / บึง

 

-

 -

-

3) อ่างเก็บน้ำ

 

 -

 -

4) ฝาย

 

 

 

-

 

-

5) สระ

 

 

 

-

 

-

6) คลองชลประทาน

 

 

-

 

-

7) ประปาหมู่บ้าน

 

 

 

8) ประปาส่วนภูมิภาค

 

 -

/

 -

                 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

           
   

(4)  หมู่ที่ 4 บ้านปากเมง

       

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิต

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(ครัวเรือน/ไร่)

(กก./ไร่)

(บาท/ไร่)

(บาท/ไร่)

1) ทำนา

 

-

-

-

-

 

 

2) ทำสวน

    สวนปาล์มน้ำมัน

50

1,000

1,050

4,000

     สวนยางพารา

400

50

150

2,500

3) ทำไร่

     ไร่อ้อย

 

       

 

 

     ไร่ข้าวโพด

 

     

 

 

     ไร่มันสัมปะหลัง

       

4) อื่นๆ

     อื่นๆ โปรดระบุ

 

 

 

 

 

 

           

ประเภทแหล่งน้ำทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝน

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

1) ห้วย / ลำธาร

 

 

/

 

/

2) หนองน้ำ / บึง

 

 

/

 

/

3) อ่างเก็บน้ำ

 

 -

 -

4) ฝาย

 

 

 

-

 

-

5) สระ

 

 

 

-

 

-

6) คลองชลประทาน

 

 

/

 

/

7) ประปาหมู่บ้าน

 

 

 

8) ประปาส่วนภูมิภาค

 

 -

/

 -

/ 

                 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

           
   

(5)  หมู่ที่ 5 บ้านฉางหลาง

       

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิต

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(ครัวเรือน/ไร่)

(กก./ไร่)

(บาท/ไร่)

(บาท/ไร่)

1) ทำนา

 

-

-

-

-

 

 

2) ทำสวน

    สวนปาล์มน้ำมัน

8

1,000

2,000

4,500

     สวนยางพารา

250

150

146

6,750

3) ทำไร่

     ไร่อ้อย

 

       

 

 

     ไร่ข้าวโพด

 

     

 

 

     ไร่มันสัมปะหลัง

       

4) อื่นๆ

     อื่นๆ โปรดระบุ

 

 

 

 

 

 

           

ประเภทแหล่งน้ำทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝน

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

1) ห้วย / ลำธาร

 

 

/

 

/

2) หนองน้ำ / บึง

 

 

/

 

/

3) อ่างเก็บน้ำ

 

 -

 -

4) ฝาย

 

 

 

-

 -

-

5) สระ

 

 

 

/

 

/

6) คลองชลประทาน

 

 

-

 -

-

7) ประปาหมู่บ้าน

 

 

 

8) ประปาส่วนภูมิภาค

 

 -

 -

 -

                 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

           
   

(6)  หมู่ที่ 6 บ้านผมเด็น

       

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิต

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(ครัวเรือน/ไร่)

(กก./ไร่)

(บาท/ไร่)

(บาท/ไร่)

1) ทำนา

 

-

-

-

-

 

 

2) ทำสวน

    สวนปาล์มน้ำมัน

15

1,050

2,000

4,200

     สวนยางพารา

130

40

146

1,600

3) ทำไร่

     ไร่อ้อย

 

       

 

 

     ไร่ข้าวโพด

 

     

 

 

     ไร่มันสัมปะหลัง

       

4) อื่นๆ

     อื่นๆ โปรดระบุ (ปลูกผัก)

25 

50

140

1,000 

 

 

           

ประเภทแหล่งน้ำทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝน

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

1) ห้วย / ลำธาร

 

 

/

 

/

2) หนองน้ำ / บึง

 

 

/

 

/

3) อ่างเก็บน้ำ

 

 -

 -

4) ฝาย

 

 

 

/

 

/

5) สระ

 

 

 

/

 

/

6) คลอง

 

 

/

 

/

7) ประปาหมู่บ้าน

 

 

 

8) ประปาส่วนภูมิภาค

 

 -

 -

 -

                 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

           
   

(7)  หมู่ที่ 7 บ้านนาหละ

       

ประเภทของการทำการเกษตร

จำนวน

ผลผลิต

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

ราคาขายโดยเฉลี่ย

(ครัวเรือน/ไร่)

(กก./ไร่)

(บาท/ไร่)

(บาท/ไร่)

1) ทำนา

 

-

-

-

-

 

 

2) ทำสวน

    สวนปาล์มน้ำมัน

38

2,000

2,000

8,000

     สวนยางพารา

110

50

146

2,150

3) ทำไร่

     ไร่อ้อย

 

       

 

 

     ไร่ข้าวโพด

 

     

 

 

     ไร่มันสัมปะหลัง

       

4) อื่นๆ

     อื่นๆ โปรดระบุ

 

 

 

 

 

 

           

ประเภทแหล่งน้ำทางการเกษตร

ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝน

การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

1) ห้วย / ลำธาร

 

 

-

-

2) หนองน้ำ / บึง

 

 

-

-

3) อ่างเก็บน้ำ

 

 -

 -

4) ฝาย

 

 

 

-

-

-

5) สระ

 

 

 

/

 

/

6) คลองชลประทาน

 

 

-

 

-

7) ประปาหมู่บ้าน

 

 

 

8) ประปาส่วนภูมิภาค

 

 -

 -

 -

                 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1.8 ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม

สถาบันและองค์กรทางศาสนา

             - มัสยิด จำนวน  4  แห่ง  ประกอบด้วย

                1. มัสยิดบ้านฉางหลาง                     ตั้งอยู่หมู่ที่  5

                2. มัสยิดมูฮายีรีน (บ้านนาแห้ง)                   ตั้งอยู่หมู่ที่  5

                3. มัสยิดดารุณยันนะ                      ตั้งอยู่หมู่ที่  5        

                4. มัสยิดบ้านนาหละ                       ตั้งอยู่หมู่ที่  7  

             - วัด จำนวน  2  แห่ง   คือ วัดไม้ฝาด   ตั้งอยู่หมู่ที่ 3

 วัดห้วยต่อ  ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 

               

1.9 ทรัพยากรธรรมชาติ

     1.  แหล่งน้ำธรรมชาติ

         - ลำน้ำลำห้วย                            จำนวน 56  สาย

     2. แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น

            - ฝาย                                   จำนวน     5     แห่ง

            - บ่อน้ำตื้น                             จำนวน 396     แห่ง

            - ประปาหมู่บ้าน                      จำนวน   33    แห่ง   

3. ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่

           -   ป่าชายเลน
           -   ชายหาดฝั่งทะเลตะวันตก

 

1.10 อื่นๆ

  1. กลุ่มมวลชนจัดตั้ง

                   - อาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน                      จำนวน  2  กลุ่ม

                   - กลุ่มพัฒนาสตรีระดับตำบล                         จำนวน  1  กลุ่ม

                   - ที่ทำการกองทุน กข. คจ.                           จำนวน  4  แห่ง

                   - อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)     จำนวน  1  กลุ่ม

                   - กรรมการศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร         จำนวน  1  กลุ่ม

             การรวมกลุ่มของประชาชน  การรวมกลุ่มทุกประเภท  10  กลุ่ม 

                   1. กลุ่มออมทรัพย์                  3  กลุ่ม

                   2. กองทุนหมู่บ้าน                  7  กลุ่ม

 

 

 

 

 

 

 

 

            จุดเด่นของพื้นที่ (ที่เอื้อต่อการพัฒนาตำบล)

                   -  สภาพพื้นที่โดยทั่วไปขององค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาดเป็นที่ราบลุ่มค่อนข้างสูง และเป็นชายทะเล ซึ่งเหมาะแก่การประกอบอาชีพเกษตรกร  เช่น ทำสวนยางพารา สวนปาล์มน้ำมัน และอาชีพด้านการประมงพื้นบ้าน รวมทั้งสถานที่ท่องเที่ยวบริเวณชายฝั่งทะเล  3  แห่ง  คือ  หาดปากเมง  หาดเจ้าไหม         หาดราชมงคล และน้ำตกอ่างทอง  ด้านการคมนาคม  มีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข  4046 และ 4162 เป็นเส้นทางหลักตัดผ่านตอนกลางพื้นที่ตำบล

            การศึกษา

          องค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด  มีสถานศึกษา/แหล่งที่ให้ความรู้กับเด็กนักเรียน จำนวน  5 แห่ง  ดังนี้

          1. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย(วิทยาเขตตรัง) ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 เปิดสอนระดับชั้นปริญญาตรี   

          2. โรงเรียนบ้านห้วยต่อ                      ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1  เปิดสอนระดับชั้นประถมศึกษา (ป.1-ป.6)

          3. โรงเรียนวัดไม้ฝาด                        ตั้งอยู่ หมู่ที่ เปิดสอนระดับชั้นประถมศึกษา (ป.1-ป.6)

         4. โรงเรียนหาดปากเมง                     ตั้งอยู่ หมู่ที่ 4  เปิดสอนระดับชั้นประถมศึกษา (ป.1-ม.3)

          5. โรงเรียนบ้านฉางหลาง                  ตั้งอยู่ หมู่ที่ 5  เปิดสอนระดับชั้นประถมศึกษา (ป.1-ป.6)

          6. โรงเรียนบ้านผมเด็น                      ตั้งอยู่ หมู่ที่ 6  เปิดสอนระดับชั้นประถมศึกษา (ป.1-ป.6)

 

 

            ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  จำนวน  4  ศูนย์  ได้แก่

  1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านห้วยต่อ                 หมู่ที่  1
  2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปากเมง                 หมู่ที่  4
  3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านฉางหลาง               หมู่ที่  5
  4. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาหละ        หมู่ที่  7
การบริการพื้นฐาน
30 พฤศจิกายน 544

756


1.5 ระบบบริการพื้นฐาน

1. การคมนาคม

            การคมนาคมในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลไม้ฝาด ใช้การคมนาคมทางบกเป็นสำคัญ  โดยมีทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4046  และ 4162 (ถนนตรัง - สิเกา ) เป็นถนนสายหลักในการในการเดินทางเข้าสู่อำเภอและตำบล  นอกจากนี้ยังมีถนน รพช.  ถนนโยธาธิการ ทางหลวงชนบทและถนนของท้องถิ่นเป็นถนนโครงข่ายแยกจากถนนสายหลักเข้าสู่หมู่บ้านและเชื่อมโยงระหว่างหมู่บ้าน ส่วนถนนที่ใช้ภายในหมู่บ้านส่วนใหญ่เป็นถนนดินลูกรังและหินคลุก

2. การไฟฟ้า

                    -  ราษฎรในตำบลมีไฟฟ้าใช้      จำนวน        7       หมู่บ้าน แต่ยังไม่ทั่วทุกหลังคาเรือน